แอล-คาร์นิทีน

คุณสมบัติสินค้า:

ลดไขมัน, ลดน้ำหนัก

แบรนด์ : Life Extension

Share

L-Carnitine 500 mg. (แอล-คาร์นิทีน 500 มก.)

ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร L-Carnitine (แอล-คาร์นิทีน)

L-Carnitine คืออะไร?

แอล-คาร์นิทีน เป็นกรดอะมิโนชนิดหนึ่งที่ผลิตขึ้นในร่างกายของมนุษย์ มีหน้าที่สำคัญ คือ การเผาพลาญไขมัน ให้กลายเป็นพลังงาน (ไมโตคอนเดรีย)

เมื่อเราอายุมากขึ้น ปริมาณของคาร์นิทีนในร่างกายจะลดลง ทำให้ระบบเผาพลาญไขมันในร่างกายไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร และส่งผลต่อพลังงานในร่างกายที่ไม่เท่าเดิม

และ L-Carnitine(แอล-คาร์นิทีน) ยังช่วยส่งเสริมการทำงานของ ไนตริกออกไซด์(Nitric Oxide)  ช่วยเพิ่มความยืดหยุ่นให้ผนังหลอดเลือด ช่วยให้หลอดเลือดคลายตัว และทำให้การไหลเวียนโลหิตได้ดีขึ้น

แอลคาร์นิทีน 500 มก. มีปริมาณเทียบเท่า

อโวคาโด 31 ผล / ไข่เบอร์ 0 จำนวน 590 ฟอง

ปริมาณ L-Carnitine ที่ลดลงเมื่ออายุเพิ่มขึ้น ส่งผลให้เกิดไขมันสะสมในร่างกาย และ ทำให้เรา อ้วน ลงพุง ได้

ประโยชน์ของ แอล-คาร์นิทีน :

  • ช่วยเผาพลาญไขมัน และออกซิไดซ์ เพื่อสร้างพลังงานระดับเซลล์1
  • ยับยั้งการสะสมส่วนของเซลล์ส่วนเกิน3
  • ส่งเสริมการทำงานของ ไนตริกออกไซด์ ช่วยให้เลือดไหลเวียนดีขึ้น4
  • ช่วยปรับระดับอินซูลินและระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ5,6
  • ช่วยป้องกันความเสื่อมของระบบความรู้ความเข้าใจและความจำของเซลล์สมอง จากอายุที่เพิ่มขึ้น7

L-Carnitine 500 mg. (แอล-คาร์นิทีน 500 มก.)
1 กระปุก มี 30 มังสวิรัติแคปซูล

รายละเอียดสำคัญ ต่อ 1 แคปซูล

  • แอล-คาร์นิทีน แอล-ทาร์เทรต (L-Carnitine L-Tartrate) :  733.1378 มก. (Provide L-Carnitine 68.2%)
  • ปราศจากกลูเตน | Non-GMO | มังสวิรัติ

ขนาดรับประทาน

ทานวันละ 1-2 เม็ด ขณะท้องว่าง หรือตามคำแนะนำของแพทย์


ฆอ.เลขที่ 480/2565

อย.เลขที่ 10-3-02663-5-0016

ผลิตที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ภายใต้มาตรฐานการผลิตของ NSF®

 
การเก็บรักษา :

  • เก็บในที่แห้งและพ้นแสง ที่อุณหภูมิห้อง
  • ควรเก็บให้พ้นมือเด็ก

คำเตือน :

  • เด็กและสตรีมีครรภ์ ไม่ควรรับประทาน
  • ไม่มีผลในการป้องกันหรือรักษาโรค

References :
1.    Linus Pauling Institute. L-Carnitine. Accessed 6/11/19. https://lpi.oregonstate.edu/mic/dietary-factors/L-carnitine

2.    Biochem Biophys Res Commun. 1989;161(3):1135-43.

3.    Environ Sci Pollut Res Int. 2018;25(2):1837-1862.

4.    J Nutr Biochem. 2007;18(8):533-40.

5.    Adv Clin Exp Med. 2017;26(2):333-338.

6.    Complement Ther Med. 2019;44:162-165.

7.    Clin Interv Aging. 2016;11:1675-1686.

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้